เศรษฐกิจ

heading-เศรษฐกิจ

ประกันสังคมเตือน ผู้ประกันตน ม.40 รีบจ่ายเงินสมทบใน 31 ก.ค. นี้

30 ก.ค. 2564 | 08:35 น.
ประกันสังคมเตือน ผู้ประกันตน ม.40 รีบจ่ายเงินสมทบใน 31 ก.ค. นี้

จากกรณีที่ประกันสังคมแจกเงินเยียวยาผู้ประกันตน มาตรา 33 39 40 ในพื้นที่สีแดงเข้ม 13 จังหวัด 9 กลุ่มอาชีพนั้น ทาง สำนักงานประกันสังคม กระทรวงแรงงาน ได้ออกมาเตือนผู้ที่สมัครเป็นผู้ประกันตน มาตรา 40 ว่า...

“ผู้ประกอบอาชีพอิสระ” สมัครผู้ประกันตนมาตรา 40 แล้ว รีบจ่ายเงินสมทบให้ทันภายใน 31 ก.ค. 64 นี้ เพื่อรับสถานะความเป็นผู้ประกันตนโดยสมบูรณ์ตามกฎหมายทันที สามารถชำระเงินผ่านช่องทางที่สะดวก ได้แก่ เคาน์เตอร์เซอร์วิส (7-11) เคาน์เตอร์เทสโก้โลตัส เคาน์เตอร์บิ๊กซี เคาน์เตอร์เซ็นเพย์ ธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน) ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร หรือผ่าน Mobile Application ShoppyPay และตู้บุญเติม ฟรีค่าธรรมเนียมทุกช่องทาง

ม.40

โดยผู้ที่สมัครเป็นผู้ประกันตน มาตรา 40 สามารถตรวจสอบสถานะความเป็นผู้ประกันตน ได้ที่ https://www.sso.go.th/

ม.40

 

 

ข่าวที่เกี่ยวข้อง

heading-ข่าวที่เกี่ยวข้อง

ม.40

ม.40

โดยผู้ที่สนใจสมัครเป็นผู้ประกันตนมาตรา 40 นั้นสามารถสมัครได้ภายในวันที่ 30 กรกฎาคม และจ่ายเงินสมทบภายในวันที่ 31 กรกฎาคมนี้ สมัครได้ทางเว็บไซต์ https://www.sso.go.th/ หรือช่องทางที่ประกันสัมคมกำหนด เช่น บิ๊กซี , 7-11 , ธนาคารธ.ก.ส. ทุกสาขาเป็นต้น

มาตรา 40 คือ บุคคลทั่วไปที่มีอายุไม่ต่ำกว่า 15 ปีบริบูรณ์ และไม่เกิน 65 ปีบริบูรณ์ ทำงานไม่มีนายจ้าง
- จ่ายเงินสมทบ

ทางเลือกที่ 1 : จ่าย 70 บาท / เดือน
1.กรณีประสบอันตรายหรือเจ็บป่วย รับค่าทดแทนขาดรายได้
- ผู้ป่วยใน นอนพักรักษาตัว 1 วันขึ้นไป = วันละ 300 บาท
- ผู้ป่วยนอก (ไม่นอนโรงพยาบาล) ใบรับรองแพทย์ให้หยุด 3 วันขึ้นไป = วันละ 200 บาท
- เงื่อนไขการรับสิทธิ ผู้ป่วยในและผู้ป่วยนอกหยุดรวมกัน = ไม่เกิน 30 วัน / ปี 
- ผู้ป่วยนอก(ไม่นอนโรงพยาบาล) หยุดไม่เกิน 2 วัน (ปีละไม่เกิน 3 ครั้ง) = ครั้งละ 50 บาท

2.กรณีทุพพลภาพ รับเงินทดแทนการขาดรายได้
- ได้รับเงินทดแทนการขาดรายได้รายเดือน (ขึ้นกับระยะเวลาส่งเงินสมทบของผู้ประกันตน) = 500 - 1,000 บาท
- ได้รับเงินทดแทนการขาดรายได้ เป็นระยะเวลา = เป็นเวลา 15 ปี
- เสียชีวิตระหว่างทุพพลภาพ ได้รับค่าทำศพ = 25,000 บาท

3.กรณีเสียชีวิต ได้รับเงินค่าทำศพ
- ผู้จัดการศพ ได้รับค่าทำศพ = 25,000 บาท
- จ่ายเงินสบทบครบ 60 เดือน ก่อนเสียชีวิต ได้รับเงินเพิ่ม = รับเพิ่ม 8,000 บาท

4.กรณีชราภาพ ได้รับเงินก้อนพร้อมดอกผล
- สะสมเงินบำเหนัจชราภาพ(เงินออม)จากเงินสมทบ เดือนละ (ได้รับเงินเมื่ออายุครบ 60 ปี และสิ้นสุดการเป็นผู้ประกันตน) = ไม่คุ้มครง
- จ่ายเงินสมทบครบ 180 เดือนรับเงินเพิ่ม = ไม่คุ้มครง 
- ผู้ประกันตนจ่ายเงินออมเพิ่มได้ ไม่เกินเดือนละ = ไม่คุ้มครง
5.กรณีสงเคราะห์บุตร ได้รับเงินรายเดือน
- ได้รับเงินสงเคราะห์บุตรแรกเกิด ถึง 6ปีบริบูรณ์ (จ่ายเงินสมทบ 24 ใน 36 เดือน) = ไม่คุ้มครง 

ทางเลือกที่ 2 : จ่าย 100 บาท / เดือน
1.กรณีประสบอันตรายหรือเจ็บป่วย รับค่าทดแทนขาดรายได้
- ผู้ป่วยใน นอนพักรักษาตัว 1 วันขึ้นไป = วันละ 300 บาท
- ผู้ป่วยนอก (ไม่นอนโรงพยาบาล) ใบรับรองแพทย์ให้หยุด 3 วันขึ้นไป = วันละ 200 บาท
- เงื่อนไขการรับสิทธิ ผู้ป่วยในและผู้ป่วยนอกหยุดรวมกัน = ไม่เกิน 30 วัน / ปี 
- ผู้ป่วยนอก(ไม่นอนโรงพยาบาล) หยุดไม่เกิน 2 วัน (ปีละไม่เกิน 3 ครั้ง) = ครั้งละ 50 บาท

2.กรณีทุพพลภาพ รับเงินทดแทนการขาดรายได้
- ได้รับเงินทดแทนการขาดรายได้รายเดือน (ขึ้นกับระยะเวลาส่งเงินสมทบของผู้ประกันตน) = 500 - 1,000 บาท
- ได้รับเงินทดแทนการขาดรายได้ เป็นระยะเวลา = เป็นเวลา 15 ปี
- เสียชีวิตระหว่างทุพพลภาพ ได้รับค่าทำศพ = 25,000 บาท

3.กรณีเสียชีวิต ได้รับเงินค่าทำศพ
- ผู้จัดการศพ ได้รับค่าทำศพ = 25,000 บาท
- จ่ายเงินสบทบครบ 60 เดือน ก่อนเสียชีวิต ได้รับเงินเพิ่ม = รับเพิ่ม 8,000 บาท

4.กรณีชราภาพ ได้รับเงินก้อนพร้อมดอกผล
- สะสมเงินบำเหนัจชราภาพ(เงินออม)จากเงินสมทบ เดือนละ (ได้รับเงินเมื่ออายุครบ 60 ปี และสิ้นสุดการเป็นผู้ประกันตน) = 50 บาท
- จ่ายเงินสมทบครบ 180 เดือนรับเงินเพิ่ม = ไม่คุ้มครง 
- ผู้ประกันตนจ่ายเงินออมเพิ่มได้ ไม่เกินเดือนละ = ออมเพิ่มได้ 1,000 บาท
5.กรณีสงเคราะห์บุตร ได้รับเงินรายเดือน
- ได้รับเงินสงเคราะห์บุตรแรกเกิด ถึง 6ปีบริบูรณ์ (จ่ายเงินสมทบ 24 ใน 36 เดือน) = ไม่คุ้มครง 

ทางเลือกที่ 3 : จ่าย 300 บาท / เดือน
1.กรณีประสบอันตรายหรือเจ็บป่วย รับค่าทดแทนขาดรายได้
- ผู้ป่วยใน นอนพักรักษาตัว 1 วันขึ้นไป = วันละ 300 บาท
- ผู้ป่วยนอก (ไม่นอนโรงพยาบาล) ใบรับรองแพทย์ให้หยุด 3 วันขึ้นไป = วันละ 200 บาท
- เงื่อนไขการรับสิทธิ ผู้ป่วยในและผู้ป่วยนอกหยุดรวมกัน = ไม่เกิน 90 วัน / ปี 
- ผู้ป่วยนอก(ไม่นอนโรงพยาบาล) หยุดไม่เกิน 2 วัน (ปีละไม่เกิน 3 ครั้ง) = ไม่คุ้มครอง

2.กรณีทุพพลภาพ รับเงินทดแทนการขาดรายได้
- ได้รับเงินทดแทนการขาดรายได้รายเดือน (ขึ้นกับระยะเวลาส่งเงินสมทบของผู้ประกันตน) = 500 - 1,000 บาท
- ได้รับเงินทดแทนการขาดรายได้ เป็นระยะเวลา = ตลอดชีวิต
- เสียชีวิตระหว่างทุพพลภาพ ได้รับค่าทำศพ = 50,000 บาท

3.กรณีเสียชีวิต ได้รับเงินค่าทำศพ
- ผู้จัดการศพ ได้รับค่าทำศพ = 50,000 บาท
- จ่ายเงินสบทบครบ 60 เดือน ก่อนเสียชีวิต ได้รับเงินเพิ่ม = ไม่คุ้มครอง

4.กรณีชราภาพ ได้รับเงินก้อนพร้อมดอกผล
- สะสมเงินบำเหนัจชราภาพ(เงินออม)จากเงินสมทบ เดือนละ (ได้รับเงินเมื่ออายุครบ 60 ปี และสิ้นสุดการเป็นผู้ประกันตน) = 150 บาท
- จ่ายเงินสมทบครบ 180 เดือนรับเงินเพิ่ม = รับเพิ่ม 10,000 บาท
- ผู้ประกันตนจ่ายเงินออมเพิ่มได้ ไม่เกินเดือนละ = ออมเพิ่มได้ 1,000 บาท
5.กรณีสงเคราะห์บุตร ได้รับเงินรายเดือน
- ได้รับเงินสงเคราะห์บุตรแรกเกิด ถึง 6ปีบริบูรณ์ (จ่ายเงินสมทบ 24 ใน 36 เดือน) = คนละ 200 บาท (คราวละไม่เกิน 2 คน)
 
เงินเยียวยาที่จะได้รับ
- 5,000 บาท

ม.40

ม.40

ม.40

 

ช่องทางการรับเงินเยียวยาประกันสังคม
- ผ่านระบบพร้อมเพย์ที่ผูกกับบัตรประชาชน

สามารถดูวิธีการและช่องทางการลงทะเบียนของแต่ละธนาคาร ตามลิงก์ต่อไปนี้ 
- ธนาคารกรุงเทพ
- ธนาคารกรุงไทย
- ธนาคารกรุงศรีอยุธยา
- ธนาคารกสิกรไทย
- ธนาคารไทยพาณิชย์
- ธนาคารออมสิน
- ธนาคารซีไอเอ็มบี
- ธนาคารทีเอ็มบีธนชาต
- ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร

 

พร้อมเพย์

 

 

 

ข่าวเด่น

สะเทือนขวัญ สังหารยกครัว 4 ราย หนูน้อย 8 ขวบสาหัส รู้สาเหตุยิ่งสลด

สะเทือนขวัญ สังหารยกครัว 4 ราย หนูน้อย 8 ขวบสาหัส รู้สาเหตุยิ่งสลด

อาการ "สมรักษ์ คำสิงห์" ป่วยเป็นอะไร ต้องเข้าไอซียู

อาการ "สมรักษ์ คำสิงห์" ป่วยเป็นอะไร ต้องเข้าไอซียู

โบนัสแตก 6 เดือน บริษัทดังแจกโบนัสพนักงานส่งท้ายปีนี้

โบนัสแตก 6 เดือน บริษัทดังแจกโบนัสพนักงานส่งท้ายปีนี้

เลขทะเบียนรถมหามงคล ลุ้น หวยสัญจร งวด 1 ธันวาคม 2567

เลขทะเบียนรถมหามงคล ลุ้น หวยสัญจร งวด 1 ธันวาคม 2567

"ภรรยา-ลูกสาวหมอบุญ" นอนคุกต่อ วืดประกันตัว หลังยื่นหลักทรัพย์คนละ 2 ล้าน

"ภรรยา-ลูกสาวหมอบุญ" นอนคุกต่อ วืดประกันตัว หลังยื่นหลักทรัพย์คนละ 2 ล้าน

ข่าวที่เกี่ยวข้อง

heading-ข่าวที่เกี่ยวข้อง